首页    期刊浏览 2025年07月13日 星期日
登录注册

文章基本信息

  • 标题:ฉะเชิงเทรา: เมืองสำคัญทางเศรษฐกิจแห่งลุ่มน้ำบางปะกง (พ.ศ. 2398-2554) Chachoengsao: The Economic Importance of the Bang Pakong River Basin (1855-2011)
  • 本地全文:下载
  • 作者:แพลูกอินทร์ ; อิงตะวัน ; มหาขันธ์
  • 期刊名称:วารสารวิชาการมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา
  • 印刷版ISSN:0858-4540
  • 出版年度:2018
  • 卷号:26
  • 期号:50
  • 页码:99-122
  • 语种:English
  • 出版社:วารสารวิชาการมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา
  • 摘要:การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาปัจจัยสำคัญที่ส่งเสริมให้ฉะเชิงเทรามีพัฒนาการจากเมืองเล็ก ๆ สู่การเป็นเมืองสำคัญทางเศรษฐกิจและพัฒนาการทางเศรษฐกิจของเมืองนี้ ตลอดจนผลกระทบที่เกิดจากการพัฒนาทางเศรษฐกิจโดยใช้การวิจัยเชิงคุณภาพ ผลการวิจัยพบว่า ปัจจัยที่ส่งเสริมให้ฉะเชิงเทรามีพัฒนาการ ประกอบด้วย 1) ที่ตั้งทางภูมิศาสตร์ของเมืองในลุ่มน้ำบางปะกงก่อเกิดทรัพยากรธรรมชาติที่อุดมสมบูรณ์ 2) นโยบายของรัฐ 3) ความหลากหลายทางชาติพันธุ์วัฒนธรรมและภูมิปัญญาในการประกอบอาชีพที่ส่งผลต่อพัฒนาการทางเศรษฐกิจทั้งด้านเกษตรกรรม อุตสาหกรรม พาณิชยกรรมและบริการ ทำให้มีผลผลิตทางเกษตรกรรมและอุตสาหกรรมที่หลากหลาย มีการค้าและบริการที่เจริญรุ่งเรืองก่อให้เกิดผลกระทบ ทั้งเชิงบวกคือ เกิดการลงทุน ทางเศรษฐกิจ การผลิตเพื่อการค้า การจ้างงาน การรับวิทยาการต่างชาติ การขยายตัวของชุมชน เป็นแหล่งรายได้ของรัฐ และการพัฒนาสู่การเป็นเมืองรองของกรุงเทพฯ ส่วนผลกระทบเชิงลบคือ ทรัพยากรธรรมชาติถูกทำลาย ปัญหาสิ่งแวดล้อม ปัญหาแรงงานต่างด้าว ความเสื่อมของอุตสาหกรรมในครัวเรือน วิถีชีวิตชาวเมืองเปลี่ยนแปลง แต่ได้พยายามแก้ปัญหา โดยนำแนวพระราชดำริปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงมาปรับใช้จนเกิดการพัฒนาอย่างยั่งยืนต่อไป The purposes of this research are to study important factors supporting Chachoengsao leap development from level-4 city to a major economic city and to study economic development process as well as the impact from economic development in Chachoengsao by using qualitative research. Based on the research findings, there are 3 important factors which encourage Chachoengsao to develop: (1) geographical factor, (2) the policy of the governor and (3) ethnical diversity, culture, and wisdom in living and working. These factors affect economic development process in terms of agriculture, industry, commerce, and service. More importantly, Chachoengsao has potential and clear direction of economic development in a gradual and natural way. From academic perspective, it is a leap development, which has positive effects including economical investment, commercial production, employment, knowledge acquisition from other countries, community setup, city expansion, state revenue source, and the development into level-2 city. On the other hand, there are some negative effects such as natural resource being destroyed, environmental problem, alien labor problem, household industry deterioration, and changes in lifestyle. However, applying H.M. King Bhumibol Adulyadej’s Philosophy of Sufficiency, people in Chachoengsao live in an economically friendly way to conserve the environment and sustainably develop the economy.
  • 关键词:ฉะเชิงเทรา;เมืองสำคัญ;เศรษฐกิจ;ลุ่มน้ำ;บางปะกง;Chachoengsao;Major City;Economic;Basin;Bang Pakong
国家哲学社会科学文献中心版权所有