首页    期刊浏览 2025年07月15日 星期二
登录注册

文章基本信息

  • 标题:กราวใน กราวนอก: ประวัติและลักษณะเฉพาะทางดนตรี Krao Nai, Krao Nok; The History and Musical Characteristics
  • 本地全文:下载
  • 作者:อุดมศรี, สันติ
  • 期刊名称:วารสารวิชาการมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา
  • 印刷版ISSN:0858-4540
  • 出版年度:2018
  • 卷号:26
  • 期号:51
  • 页码:276-291
  • 语种:English
  • 出版社:วารสารวิชาการมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา
  • 其他摘要:งานวิจัยเรื่อง กราวใน กราวนอก: ประวัติและลักษณะเฉพาะทางดนตรีมีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาประวัติพัฒนาการของเพลงกราวในและกราวนอก โดยอธิบายคุณสมบัติที่เป็นลักษณะเฉพาะและการปรับเปลี่ยนลักษณะทำนองของบทเพลงที่มีการนำไปใช้ในโอกาสที่แตกต่างกัน โดยใช้ระเบียบการวิจัยเชิงคุณภาพ และการวิเคราะห์เพลงไทยมาเป็นกรอบในการศึกษา ผลการศึกษาพบว่า พัฒนาการของเพลงกราวในและกราวนอกมีมาตั้งแต่สมัยอยุธยาที่ใช้ประกอบหนังใหญ่ โขน ละคร ในสมัยรัตนโกสินทร์ในรัชกาลที่ 3 เกิดวงปี่พาทย์เสภา ได้พัฒนาจากเพลงที่ใช้ประกอบการแสดงมาเป็นเพลงเพื่อการฟัง คือ เพลงเดี่ยวสำหรับเครื่องมือต่าง ๆ และได้พัฒนาไปเป็นเพลงประเภทโหมโรงกราวนอกและโหมโรงกราวใน ซึ่งลักษณะเฉพาะของทำนองเพลงกราวทั้งสองนี้มีโครงสร้างของไม้กลองที่สื่อให้อารมณ์ของเพลงแตกต่างกัน คือ การมีอิสระในการตกแต่งทำนอง ที่เรียกว่า “โยน” ซึ่ง แสดงให้เห็นถึงความสัมพันธ์ระหว่างเพลงกราวและเพลงทยอยได้อีกมิติหนึ่ง ส่วนเรื่องความคลี่คลายของทำนองพบว่าครูมนตรี ตราโมทได้นำเอาทำนองของเพลงกราวนอกไปปรับเปลี่ยนเป็นเพลงระบำหลายชุด เช่น กราวอาสา กราววีรชัย นอกจากนี้ทำนองกราวนอกได้คลี่คลายไปเป็นเพลงกราวกีฬาที่แต่งโดยพระยาธรรมศักดิ์มนตรี This research, using the qualitative research methods aims to study the history and development of Krao Nai, and Krao Nok and to analyze the music to show the characteristics in the musical elements with the explanations of music arrangement for being used in different occasions. The study reveals that the Krao Nai and Krao Nok songs have been developed since the era of Ayutthaya, and the songs have been used to accompany the Nangyai, Khon, and Lakorn performances. In the Rattanakosin era, after the Pipat-sepa (Thai Ochestra) was set up in Rattanakosin era, after the Pipat-sepa (Thai Ochestra) was set up in the King Rama III’s reign, the songs were used for listening instead of being used for only accompanying the performance. The songs were played by solo piece of different instruments. Later, the song were developed as roots of the overture songs composition such as Homrong Krao Nok (Luang Pradit Pairoh), and Homrom Krao Nai (Kru Pinij Chaisuwan). The different characteristic of the Krao Nai and Krao Nok is the structure of Mai Klong (drum rhythmic pattern). And the mutual characteristic of the songs is the freely melody arrangement called “Yon” which once shows the relationship of Krao song and Tayoy song. The Krao Nok song was arranged to the pieces of Kru Montri Tramote’s Rabam songs such as Krao Asa and Krao Veerachai. For the song expression reason, the Krao songs have encouraged active sensibility. Krao Keela (the sport anthem) was adapted from Krao Nok by Praya Tammasakmontri.
国家哲学社会科学文献中心版权所有